รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (วราวุธ ศิลปอาชา) ประกาศจะนำชื่อของ “มาเรียม” พะยูนกำพร้าแม่ที่เสียชีวิตไป เมื่อวันที่ 17 สิงหาคม 2562 เป็นสัญลักษณ์ของการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติทั้งทางบกและทางทะเล ซึ่งเป็นนิมิตหมายที่ดี แต่เราคิดว่ากรณีนี้ยังต้องมีการนำมาเป็นบทเรียนสำหรับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติที่มากกว่านั้น
IGreen Editor
บางคนบอกว่ามันคืออาวุธใหม่ที่จะใช้ต่อสู้กับภาวะโลกร้อน บางคนบอกว่ามันคือสิ่งที่ช่วยเยียวยาระบบนิเวศ บางคนรู้จักมันในฐานะอาหารของพะยูนเท่านั้น
“หิ่งห้อยนับร้อยนับพัน ส่องแสงระยิบระยับกัน สว่างไสวไปทั้งต้นลําพู เด็กน้อยแอบออกมา ไล่คว้าแสงน้อยมาดู ใส่ไว้ในกล่องงามหรู ซ่อนไว้ใต้หมอน แล้วนอนคอยฝันดี” เนื้อหาท่อนฮุคในบทเพลง “นิทานหิ่งห้อย” ที่แฟนเพลงในอดีตฟังแล้วคงจินตนาการถึงเจ้าแมลงเรืองแสงระยิบระยับในตัวเอง…ลอยอยู่เบื้องหน้าท่ามกลางความมืด
เมื่อปี 2017 มีภาพยนตร์แนวโลกาวินาศเรื่องหนึ่งซึ่งดูเหมือนจะสนุก แต่ถูกนักวิจารณ์ตำหนิว่าขาดความตื่นเต้นและเอฟเฟกต์ขาดความสมจริง จนทำให้ผู้ผลิตหนังเรื่องนี้ขาดทุนไปถึง 74 ล้านเหรียญสหรัฐ ภาพยนตร์เรื่องนี้คือ Geostorm
เมื่อศตวรรษก่อน สหรัฐอเมริกามีล็อบสเตอร์อยู่จำนวนมาก จนนำไปใช้เป็นอาหารเลี้ยงคนงาน และถูกเรียกว่าอาหารของคนยากไร้ แต่ปัจจุบันล็อบสเตอร์กลายเป็นอาหารที่มีราคาแพงขึ้น ทำให้มันเลื่อนสถานะจากอาหารของคนยากไร้ กลายเป็นอาหารของคนชั้นกลาง หรือในบางประเทศมันคืออาหารฟุ่มเฟือยของคนมีเงิน ดังนั้นเนื้อของล็อบสเตอร์จึงเป็นที่ปรารถนาของนักชิมจำนวนมาก
ช่วงอายุที่เหมาะที่สุดสำหรับพัฒนาการด้านสมองคือช่วงแรกเกิดถึง 5 ขวบ ในช่วงนี้สมองจะกักเก็บข้อมูลต่างๆ ได้มากมาย และเป็นช่วงเวลาที่ดีที่สุดในการสอนภาษาที่ 2 ที่ 3 แต่ภาษาที่สำคัญภาษาหนึ่งคือ “ภาษาของความยั่งยืน” เป้าหมายในการสอนภาษาของความยั่งยืน คือการที่นักเรียนสามารถนำใช้ให้สอดคล้องกับโลกใบนี้ กับพ่อแม่ เพื่อนๆ และอาชีพของพวกเขาเองในอนาคต รีเบคก้า เอมิส (Rebecca Amis) ผู้ร่วมก่อตั้งโรงเรียนเอกชน MUSE …
สหรัฐอเมริกาเป็นอู่ของทุนนิยม เป็นดินแดนที่ภาคธุรกิจมีอำนาจเหนือการเมือง เป็นศูนย์กลางของลัทธิบริโภคนิยม อุตสาหกรรมนิยม บรรษัทนิยม และอุดมการณ์ใครมือยาวสาวได้สาวเอา ที่เรียกอย่างดิบดีว่า American Dream
ไม่เพียงผลกระทบต่อโลกธรรมชาติ รายงานฉบับใหม่นี้จะทำให้ผู้คนได้ตระหนักถึงภัยของเสียและมลพิษพลาสติกต่อชีวิตมนุษย์ โดยเฉพาะในประเทศกำลังพัฒนา ทุกๆ ปีมีคนทั่วโลกนับล้านเสียชีวิต ซึ่งรัฐบาลและบริษัทสินค้าอุปโภคบริโภครายใหญ่ควรต้องออกมาร่วมรับผิดชอบ
ประเทศไทยกำลังประสบปัญหาขยะพลาสติกที่มีปริมาณสูงขึ้นต่อเนื่องโดยไทยติดอันดับ 6 ของโลก ที่มีการทิ้งขยะพลาสติกลงสู่ทะเลมากที่สุด คิดเป็นปริมาณราว1.3 ล้านตันต่อปี ทำให้ในปี 2018 ภาครัฐ จึงได้ออกมาตรการลดและยกเลิกการใช้พลาสติกซึ่งเป็นหนึ่งในนโยบายเพื่อลดปริมาณขยะภายในประเทศ
ขวัญใจคนดูสารคดีเกี่ยวกับโลกและธรรมชาติ เซอร์เดวิด แอตเทนเบอเรอห์ กลับมาอีกครั้งกับสารคดีโทรทัศน์ Climate Change – The Facts เพื่อตรวจสอบวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และการแก้ปัญหา