เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 ที่ผ่านมา สื่อมวลชนทั่วโลกรายงานข่าวนักวิทยาศาสตร์กว่า 11,000 คน ร่วมกันลงชื่อในแถลงการณ์เตือนให้ตระหนักถึงภาวะฉุกเฉินของปัญหาโลกร้อน โดยบรรดาสื่อชื่อดังระดับโลกต่างรายงานข่าวด้วยน้ำเสียงที่ตื่นตระหนกและดูน่ากลัว เช่น สำนักข่าว The Guardian ของอังกฤษพาดหัวข่าวว่า “วิกฤตการณ์สภาพภูมิอากาศ: นักวิทยาศาสตร์ 11,000 คน เตือนให้เตรียมตัวกับความทุกข์ยากที่ไม่เคยปรากฏมาก่อน” และสำนักข่าว …
IGreen Editor
ทะเลกำลังเป็นกรดอีกครั้ง…ต้นเหตุการสูญพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตครั้งใหม่ เมื่อ 66 ล้านปีที่แล้วเกิดการสูญพันธุ์ครั้งใหญ่ของไดโนเสาร์ ซึ่งเป็นสิ่งมีชีวิตที่ครองโลกของเราในช่วงเวลานั้นในขณะที่มนุษย์ยังไม่ถือกำเนิดขึ้นมา การสูญสิ้นของไดโนเสาร์เป็นผลมาจากอุกกาบาตพุ่งชนโลกจนทำให้สิ่งมีชีวิตในโลกมากถึง 75% ตายเรียบ แต่อย่าเพิ่งเข้าใจผิดว่าอุกกบาตลูกเดียวส่งผลให้สิ่งมีชีวิตบนโลกพบกับจุดจบ ที่จริงแล้วอุกกบาตลูกนั้นเป็นชนวนให้เกิดปัจจัยที่ทำให้สิ่งมีชีวิตล้มตายหลังจากนั้นมากกว่า เช่น เกิดแรงสั่นสะเทือนรุนแรงทำให้ภูเขาไฟปะทุไปทั่ว และพ่นเถ้าถ่าน รวมทั้งลาวาไหลปกคลุมโลกอย่างยาวนาน ซึ่งทำให้สัตว์และพืชบนพื้นดินล้มหายตายจากไปจนเกือบหมด แต่คำถามก็คือแล้วสัตว์น้ำในทะเลล้มตายลงได้อย่างไร? นักวิทยาศาสตร์สงสัยกันมานานแล้วว่า การลดลงอย่างหนักหน่วงของค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) ในทะเลเป็นสาเหตุที่ทำให้สัตว์ทะเลในยุคนั้นไม่รอดจากหายนะอุกกาบาตพุ่งชนโลกเช่นกัน ดร.เจมส์ แร …
โดย – ปกรณ์ นิลประพันธ์ เลขาธิการ ก.พ.ร. เรื่องพลังงานนั้น บ้านเรายังคงวนไปวนมากับเรื่องราคาน้ำมันว่าถูกว่าแพงกว่าเพื่อนบ้าน บางกลุ่มก็เสนอแบบง่าย ๆ ว่าราคาน้ำมันของบ้านเราต้องเท่ากับราคาน้ำมันของประเทศเพื่อนบ้าน ทั้ง ๆ ที่บริบททางเศรษฐกิจ สภาพทางกายภาพ ระบบกฎหมาย และอื่น ๆ แตกต่างกันลิบลับ นับว่าแปลกมากที่มีการรณรงค์แบบนี้ด้วย
ชีวนวัตกรรม หรือ Synthetic Biology เป็นศาสตร์ใหม่ที่ทางอออกหนึ่งจะช่วยกอบกู้โลก เพราะหากมนุษย์ยังคงผลิตและบริโภคอย่างสุดโต่งโดยไม่ใส่ใจทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ถึงจะมีโลกอีกกี่ใบก็คงไม่เพียงพอต่อความต้องการ โดยเฉพาะการบริโภคแบบไร้ขีดจำกัดที่เป็นต้นเหตุทำให้โลกร้อน ชัยวัฒน์ โควาวิสารัช ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท บางจาก คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) กล่าวปาฐกถาหัวข้อ “ทำไมต้อง Syn Bio” ในงานเสวนา …
บลูคาร์บอน (Blue Carbon) เกิดขึ้นได้อย่างไร? โลกของเรามีวัฏจักรของคาร์บอนหมุนเวียนผ่านสิ่งมีชีวิตและวัตถุต่าง ๆ เช่น การหมุนเวียนผ่านการสังเคราะห์แสงของพืชบนดินไปจนถึงพืชในน้ำ การหมุนเวียนของคาร์บอนผ่านพืชและสัตว์น้ำเรียกว่า บลูคาร์บอน (สีน้ำเงินเป็นสัญลักษณ์ของน้ำและท้องทะเล) ในเมื่อคาร์บอนมีวัฏจักร ดังนั้นไม่ว่าจะเป็น กรีนคาร์บอน (Green Carbon) หรือ บลูคาร์บอน (Blue Carbon) ก็จะต้องมีการหมุนเวียนผ่านสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ …
แม้ว่าหลายคนอาจจะไม่คุ้นกับคำว่า Circular economy มาก่อน แต่เชื่อได้ว่าในอีกไม่นาน คำ ๆ นี้จะเป็นที่พูดถึงกันในวงกว้าง เพราะบริษัทใหญ่ ๆ เริ่มหันมาใช้โมเดลนี้ในการประกอบธุรกิจที่ยั่งยืน หน่วยงานภาครัฐบางประเทศได้กำหนดมาตรฐานสำหรับธุรกิจ Circular economy หรือเศรษฐกิจหมุนเวียนที่มีประสิทธิภาพ และองค์กรต่าง ๆ ในระดับสากลได้ตั้งแพลตฟอร์มขึ้นมาเพื่อส่งเสริมโมเดลนี้
“กำไรคือการได้กลับบ้านมาดูแลแม่ ได้อยู่ในชุมชนของเรา ได้พูดภาษาหล่ม ได้กินอาหารลาว ได้เจอญาติ วิถีตอนเด็กๆ มันกลับมา…ฝ้ายไม่มีก็ปลูกมันขึ้นมา” วิถีรักษ์โลกในแบบฉบับของ ยุพิน ผูกพานิช คือการหันหลังให้เมืองเพื่อกลับไปดูแลแม่ในวัย 70 ซึ่ง จ๋า ยุพิน บอกว่านี่คือกำไรของ “ร้านฝ้ายจ๋ายาใจ” คือการได้กลับบ้านมาอยู่ในชุมชนที่คุ้นเคย และที่สำคัญมากว่านั้นก็คือการสืบสานภูมิปัญญาการผลิตผ้าฝ้ายในรูปแบบต่าง ๆ ที่แม่เคยทำมาตลอดชีวิต
แม้เราจะเกลียดชังคาร์บอนในฐานะตัวการทำให้เกิดภาวะโลกร้อนมากแค่ไหน สิ่งหนึ่งที่เราจะลืมไม่ได้คือคาร์บอนเป็นองค์ประกอบสำคัญของชีวิต นั่นหมายความว่าเราจะมุ่งลดและกำจัดคาร์บอนอย่างเดียวคงไม่ได้ เราต้องทำให้มันอยู่ในโลกอย่างสมดุล เพราะไร้คาร์บอนก็ไร้ชีวิต ระบบนิเวศมากมายที่อยู่ได้ด้วยการซึมซับคาร์บอน แต่ก็มีคาร์บอนส่วนเกินที่มนุษย์สร้างขึ้นมาจนกลายเป็นปัญหาอยู่ในขณะนี้ ซึ่งระบบนิเวศอิงคาร์บอนที่กำลังเป็นที่พูดถึงกันมากคือ Blue Carbon และ Green Carbon
Synthetic Biology หรือ ชีวนวัตกรรม ถูกนำมาใช้ในวงการแพทย์มานานพอสมควร เช่น การผลิตวัคซีนบางชนิด หรือการผลิตอินซูลินสำหรับโรคเบาหวาน โดยปัจจุบันเริ่มมีการพูดถึงมากขึ้นอีกครั้ง เนื่องจากเป็นศาสตร์ที่ตอบโจทย์ตรงความต้องการผู้บริโภคมากขึ้น เพื่อให้เข้าใจความหมายในเชิงหลักการมากขึ้น “ชีวนวัตกรรม” คือการผสมผสานความรู้ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์เข้ากับชีววิทยา หรือการนำเทคโนโลยีพันธุวิศวกรรมเข้าไปผสานกับเทคโนโลยีการเลี้ยงจุลินทรีย์ เพื่อให้ใช้จุลินทรีย์เป็นเสมือนโรงงานในการผลิต หรือสังเคราะห์ผลิตผลิตภัณฑ์ตามที่เราต้องการ แทนการพึ่งพากระบวนการผลิตตามธรรมชาติที่อาจใช้เวลาและทรัพยากรที่มากกว่า
สำนักข่าวต่างประเทศรายงานจากกรุงซันติอาโก ประเทศชิลีเมื่อวันที่ 30 ตุลาคม ว่า ประธานาธิบดีเซบาสเตียน ปิเญรา แห่งชิลี แถลงทางโทรทัศน์ว่า จากเหตุชุมนุมประท้วงที่เกิดขึ้น ชิลีจึงขอตัดสินใจยกเลิกการเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมระดับนานาชาติครั้งสำคัญ 2 เวที คือการประชุมสุดยอดความร่วมมือทางเศรษฐกิจแห่งภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิกหรือ เอเปก ซัมมิต ตามกำหนดในวันที่ 16-17 พฤศจิกายนนี้ และการประชุมภาคีแห่งสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ครั้งที่ 25 …