วันพื้นที่ชุ่มน้ำโลก (World Wetlands Day) ตามอนุสัญญาว่าด้วยพื้นที่ชุ่มน้ำ หรือ อนุสัญญาแรมซาร์ (Ramsar Convention) ตรงกับวันที่ 2 กุมภาพันธ์ ของทุกปี เป็นการตั้งตามชื่อสถานที่จัดประชุมเพื่อรับรองอนุสัญญา ณ เมืองแรมซาร์ ประเทศอิหร่าน เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2514 …
IGreen Editor
แม้ว่าภาวะโลกร้อนจะยังไม่ถึงขั้นทำให้เราไม่มีน้ำดื่ม แต่มันมันรุนแรงมากพอที่จะทำให้เราไม่มีไวน์ดื่มกันแล้ว จากการศึกษาและประเมินของทีมนักวิจัยที่เผยแพร่ผลงานใน Proceedings of the National Academy of Sciences (PNAS) พบว่า หากอุณหภูมิโลกร้อนขึ้น แหล่งผลิตไวน์จะพังพินาศ หากอุณหภูมิร้อนขึ้น 2 องศาเซลเซียสจะทำลายพื้นที่ปลูกไวน์ถึง 56% แต่หากอุณหภูมิสูงขึ้นถึง 4 องศาเซลเซียส จะสูญเสียพื้นที่ผลิตไวน์ไปถึง …
เมื่อวันที่ 31 มกราคม 2563 สมาชิกรัฐสภาสวีเดนเสนอชื่อ เกรต้า ธันเบิร์ก นักเคลื่อนไหวเพื่อสิ่งแวดล้อมกับขบวนการ Fridays for Future ให้เป็นผู้รับรางวัลโนเนลสาขาสันติภาพ ประจำปี 2563 ในจดหมายถึงคณะกรรมการโนเบลของนอร์เวย์ Jens Holm และ Hakan Svenneling นักการเมืองฝ่ายซ้ายของสวีเดนกล่าวถึงคุณสมบัติของเกรต้าเอาไว้ว่า “เกรต้า …
เมื่อ 2559 รัสเซียต้องต่อสู้กับการระบาดอันลึกลับในมุมห่างไกลของไซบีเรียที่แคว้นยามัล กวางเรนเดียร์ประมาณ 2,000 ล้มตาย มี 96 คนได้รับการรักษาในโรงพยาบาล และเด็กชายอายุ 12 ปีเสียชีวิต ชาวยามัลมักบริโภคเนื้อเนื้อกวางดิบตามธรรมเนียมของท้องถิ่น แต่เมื่อเชื้อเกิดระบาดขึ้นทำให้คนท้องถิ่นติดโรคอย่างรวดเร็ว
นพ.อดุลย์ รัตนวิจิตราศิลป์ รองคณบดีคณะแพทย์ศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล เขียนบทความลงในเพจ บันทึกเรื่องน่ารู้ by Dr.Adune เมื่อวันที่ 21 ม.ค.ที่ผ่านมา มีเนื้อหาระบุว่า ถ้านักวิทยาศาสตร์ นักฟิสิกส์ นักอุตุนิยมวิทยา วิศวกร ร่วมมือช่วยกันแก้ไขปัญหาฝุ่น PM2.5 คงจะดีไม่น้อย
นพ.รังสฤษฎ์ กาญจนะวณิชย์ อาจารย์แพทย์โรคหัวใจ ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊ก Rungsrit Kanjanavanit โดยตั้งคำถามถึงการทำหน้าที่แก้ไขปัญหาฝุ่น PM2.5 ของกรมควบคุมมลพิษ หัวข้อ “เหตุใดระบบเตือนภัย Air4Thai ของกรมควบคุมมลพิษจึงไม่ตอบโจทย์”
การเปลี่ยนผ่านของภูมิทัศน์ทางการเมืองในช่วงปี พ.ศ. 2562 ในด้านหนึ่งดูเหมือนจะช่วยขยายพื้นที่การมีส่วนร่วมของพลเมืองในการกำหนดนโยบายสาธารณะผ่านกระบวนการทางรัฐสภา แต่ในอีกด้านหนึ่ง การเปลี่ยนผ่านนี้มีความซับซ้อน ย้อนแย้ง และท้าทายอย่างยิ่ง ดังนั้น บทความนี้จะพินิจสถานการณ์สิ่งแวดล้อมไทยแตกต่างจากปีที่ผ่านมา
ปัญหา PM2.5 หรือฝุ่นละอองขนาดเล็กเริ่มส่อเค้าระดับความรุนแรงที่อาจไม่แตกต่างจากปีที่แล้ว (ปลายปี 2561 ต่อเนื่องต้นปี 2562) โดยเฉพาะพื้นที่ภาคเหนือและกรุงเทพฯ ที่เริ่มเห็นสัญญาณก่อตัวขึ้นบ้างแล้ว ในขณะที่แผนการรับมือยังดำเนินไปในลักษณะตั้งรับแบบเดิมๆ เดโช ไชยทัพ ผู้ประสานงานมูลนิธิเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในฐานะผู้คลุกคลีอยู่กับปัญหานี้มาอย่างต่อเนื่อง อธิบายว่า จากประสบการณ์ฝุ่นควันภาคเหนือที่รุนแรงขึ้นเมื่อปี 2561 ต่อเนื่อง 2562 มี 2 ด้าน
ปี 2561 ประเทศไทยมีขยะมูลฝอยเกิดขึ้นประมาณ 27.8 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากปี 2560 ราว 1.64% ตัวเลขนี้คือขยะในระบบที่สามารถคำนวณได้ แต่ยังมีขยะที่ไม่ถูกนำมานับรวมอีกมหาศาลซึ่งหลุดรอดไปโผล่อยู่ในแม่น้ำและมหาสมุทร คอลัมน์ igreen Talk คุยกับ ชูเกียรติ โกแมน คณะทำงานโครงการสวนผักคนเมือง ในฐานะเป็นผู้คิดค้นนวัตกรรมการนำขยะอินทรีย์มาทำดินหรือปุ๋ยหมัก เขาอธิบายถึงทางออกในการจัดการขยะว่าจะต้องเริ่มจาการคัดแยกขยะก่อนเป็นอันดับแรก โดยที่ทุกคนสามารถทำได้ ไม่ซับซ้อนหรือเข้าใจยาก
นายวราวุธ ศิลปอาชา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในฐานะหัวหน้าคณะผู้แทนไทย ได้เข้าร่วมการประชุมระดับผู้นำและระดับรัฐมนตรี (High-level Segment) ของการประชุมรัฐภาคีกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สมัยที่ 25 (COP25), การประชุมรัฐภาคีพิธีสารเกียวโต สมัยที่ 15 (CMP 15) และการประชุมรัฐภาคีความตกลงปารีส สมัยที่ 2 (CMA 2) เมื่อวันที่ …