สหภาพแรงงานจังหวัดปราจีนบุรี ผนึก กสศ. สนับสนุนทุนการศึกษา “เยาวชนแรงงานนอกระบบการศึกษา” เพื่อจัดการศึกษาเชิงพื้นที่ให้หลุดพ้น”กับดักค่าจ้าง” เป้าหมาย 500 คน เสี่ยงว่างงานจากวิกฤตโควิด-19
IGreen Editor
ดัชนีคุณภาพอากาศของเชียงใหม่ในปี 2562 มีความรุนแรงของมลพิษติดอันดับหนึ่งของโลก ซึ่งมีสาเหตุจากหลายปัจจัยด้วยกัน โดยหนึ่งในนั้นก็คือการเผาวัสดุทางการเกษตรจากการปลูกพืชเชิงเดี่ยวโดยเฉพาะข้าวโพด ซึ่งจากการประเมินพบว่ามีปริมาณซังข้าวโพดเหลือทิ้ง จำนวน 1.2 ล้านตัน/ปี เปลือกข้าวโพด จำนวน 3.1 แสนตัน/ปี หรือคิดเป็น 25% ของผลผลิต (สถาบันวิจัยและพัฒนาพลังงานนครพิงค์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2560) การเผาป่าเพื่อหาของป่า และเกิดลุกลามไหม้เข้าไปยังพื้นที่ป่าจนไม่สามารถควบคุมไม่ได้
ปลูก ‘ต้นไม้ในใจ’ ไม่เน้นปริมาณ
โยงใยการอนุรักษ์-วิถีชีวิตเข้าด้วยกัน
ส่งต่ออากาศอันบริสุทธิ์ให้ลูกหลาน
เมื่อพูดถึง “องค์การนอกภาครัฐ” หลายคนอาจจะไม่คุ้นหู้หรือไม่รู้จัก แต่ถ้าบอกว่ามันคือชื่อเต็มของ “เอ็นจีโอ” (Non Governmental Organizations: NGO) น้อยคนนักที่จะบอกว่าไม่รู้จัก
อุปสรรคใหญ่ที่ทำให้เด็กหลุดนอกระบบการศึกษา นอกเหนือจากปัญหาความยากจนแล้ว ยังมีอีกขวากหนามคือ “บาดแผลทางใจ” หรือ “Trauma” ที่เด็กเคยประสบเหตุการณ์ร้ายในอดีตตามหลอกหลอนรบกวนจิตใจจนไม่อาจใช้ชีวิตได้ตามปกติ จากการถูกกระทำจนกลายเป็น “ความเครียดที่เป็นพิษ” บ่อนทำลายร่างกายจนระบบรวน
ช่วงเดือนสิงหาคม- ตุลาคม 2563 ภาคตะวันตกของสหรัฐอเมริกา หรือ West Coast เกิดวิกฤตการณ์ไฟป่าที่ลุกลามตั้งแต่รัฐแคลิฟอร์เนียไปจนถึงรัฐวอชิงตันทำให้พื้นที่เหล่านี้ถูกปกคลุมด้วยควันไฟหนาทึบและบางพื้นที่ยังถูกล้อมด้วยไฟป่าที่ดับได้ยากเพราะมีพื้นที่กว้างใหญ่และลุกลามรวดเร็ว
ความรุนแรงของมลพิษทางอากาศโดยเฉพาะฝุ่นละอองขนาดเล็กไม่เกิน 2.5 ไมครอน หรือ PM2.5 เป็นภัยคุกคามสุขภาพของคนไทยมาอย่างต่อเนื่องยาวนาน และไม่ควรเป็นเรื่องที่ “ปีหนึ่งพูดกันครั้งหนึ่ง” เหมือนเช่นที่ผ่าน ๆ มา แต่ต้องมีการปรับเปลี่ยนนโยบายการจัดการปัญหาให้เกิดการมีส่วนร่วมจากหลายภาคส่วนอย่างจริงจัง และมีการขับเคลื่อนการแก้ปัญหาให้มีความต่อเนื่อง
โจทย์ใหญ่ของฝุ่นควันภาคเหนือก็คือ “มายาคติ” กล่าวคือรัฐชูนโยบาย Zero Burning พร้อม ๆ กับการส่งเสริมการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ทำให้เกษตรกรบนพื้นที่สูงตกเป็นจำเลยของสังคมว่าเป็นคนเผาและไม่ยอมเลิกเผา โดยเฉพาะการใช้ไฟสำหรับการหาของป่าและล่าสัตว์ จึงเป็นที่มาของการชูประเด็นให้ชาวบ้านเลิกใช้ไฟเด็ดขาด
ในรายงานคุณภาพอากาศโลกประจำปี 2562 ของ IQAir AirVisual ซึ่งเป็นแอปพลิเคชันยอดนิยมในการตรวจสอบคุณภาพอากาศพบว่า เมืองที่มีมลพิษทางอากาศเลวร้ายที่สุดในโลก 30 อันดับแรก อยู่ในประเทศอินเดียถึง 20 เมือง และในจำนวน 20 เมืองนี้มี 6 เมืองที่ติดท็อป 10 มลภาวะทางอากาศที่แย่ที่สุดในโลก
ในสถานการณ์ที่เลวร้ายที่สุดหากอุณหภูมิของโลกสูงขึ้นถึง 5 องศาเซลเซียสจากภาวะโลกร้อนจะส่งผลให้พันธุ์ปลาชนิดต่างๆ ทั่วโลกถึง 60% ไม่ว่าจะเป็นระยะฟักตัวหรือโตเต็มที่จะไม่สามารถรับมือกับอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นในพื้นที่ที่มันอยู่อาศัยได้ภายในปี 2643 (ค.ศ. 2100)
อากาศช่วงฤดูหนาวของเมืองใหญ่และหมอกควันจากฝุ่นอนุภาคขนาดเล็กกว่า 2.5 ไมครอน หรือฝุ่น PM2.5 กลายเป็นปรากฏการณ์ที่อยู่คู่กันราวกับเป็นมลพิษประจำฤดูกาล ซึ่งปกติฤดูหนาวของไทยจะเวียนมาถึงในกลางเดือนตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ เพราะเป็นช่วงที่มีลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือพัดเข้าปกคลุมประเทศไทย