อุณหภูมิพื้นผิวมหาสมุทรโลกทุบสติถิ สูงสุดเป็นประวัติการณ์
อุณหภูมิพื้นผิวมหาสมุทรทั่วโลกแตะ 21.1°C สูงที่สุดนับตั้งแต่เริ่มมีการบันทึก ซึ่งเป็นสัญญาณบ่งชี้ปลายปีนี้อาจเกิดปรากฏการณ์เอลนีโญขึ้นในมหาสมุทรแปซิฟิก
อุณหภูมิพื้นผิวมหาสมุทรทั่วโลกแตะ 21.1°C สูงที่สุดนับตั้งแต่เริ่มมีการบันทึก ซึ่งเป็นสัญญาณบ่งชี้ปลายปีนี้อาจเกิดปรากฏการณ์เอลนีโญขึ้นในมหาสมุทรแปซิฟิก
ประชาชนภาคเหนือยื่นฟ้องพล.อ.ประยุทธ์ นายกรัฐมนตรี และหน่วยงานเกี่ยวข้อง เหตุเพิกเฉยใช้อำนาจหน้าที่ตามกฎหมายแก้ไขปัญหาและบรรเทาสถานการณ์ความรุนแรงของวิกฤตฝุ่นควัน ทอดทิ้งประชาชนเผชิญภยันตรายต่อชีวิตและสุขภาพอนามัยต่อเนื่องยาวนานเป็นเดือน รอลุ้นรับเป็นคดีฉุกเฉิน
Beach for life ออกแถลงการณ์เรียกร้องให้กรมโยธาฯ รับผิดชอบ จากกรณีนักท่องเที่ยวลื่นล้มบนกำแพงกันคลื่นที่ชายหาดชะอำ จังหวัดเพชรบุรี
ผลการศึกษาใหม่ของโรงเรียนแพทย์ฮาร์วาร์ดเผยการสัมผัส PM2.5 ที่เพิ่มขึ้นเพียงเล็กน้อยสามารถเพิ่มความเสี่ยงในการเกิดภาวะสมองเสื่อมได้
พอ.ประยุทธ์เข้าร่วมประชุมหารือกับนายกรัฐมนตรีลาว และ นายกรัฐมนตรีเมียนมา ว่าด้วยการจัดการปัญหามลพิษหมอกควันข้ามแดน
การศึกษาใหม่พบว่าการการปกป้องและฟื้นฟูประชากรสัตว์บางสายพันธุ์อาจช่วยลดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศได้ โดยเฉพาะสัตว์ขนาดใหญ่ เช่น ช้าง วาฬ วัวกระทิง และฉลาม ซึ่งมีประสิทธิภาพการจับคาร์บอนเทียบเท่ากับป่า
รายงานสถานการณ์คุณภาพอากาศพื้นที่กรุงเทพฯ พบค่าฝุ่น PM 2.5 อยู่ในระดับเริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ ส่วนดัชนีคุณภาพอากาศเกิน 100 AQI
นักวิทยาศาสตร์เพาะเซลล์ ปลาหมึกและหมึกยักษ์เป็นที่ทราบกันดีว่ามีคุณสมบัติพิเศษในการพรางตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมเพื่อหลบเลี่ยงผู้ล่าหรือเหยื่อ หลายปีที่ผ่านมานักวิจัยได้พยายามเพาะเลี้ยงเซลล์ปลาหมึกในห้องแล็บ เพื่อค้นหาโครงสร้างของคุณสมบัติโปร่งใสของปลาหมึกแต่ไม่เป็นผลสำเร็จ กระทั่งล่าสุดทีมนักวิจัยได้ปรับวิธีการใหม่ โดยจำลอง (replicate) ความโปร่งใสที่ปรับได้จากเซลล์ผิวหนังของปลาหมึกในเซลล์ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ซึ่งปรากฎว่าวิธีนี้สามารถเพาะเลี้ยงเซลล์ผิวหนังที่ปรับความโปร่งใสของปลาหมึกได้ งานวิจัยนี้ไม่เพียงทำให้กระจ่างเกี่ยวกับชีววิทยาพื้นฐานของปลาหมึกเท่านั้น แต่ยังนำไปสู่วิธีที่ดียิ่งขึ้นในการถ่ายภาพเซลล์หลายชนิด ความโปร่งใสที่ปลาหมึกพัฒนาปรับเปลี่ยนได้มาจากโครมาโตฟอร์ เซลล์ที่สร้างเม็ดสีที่อยู่ใต้ผิวหนังควบคุมโดยกล้ามเนื้อ ทำงานโดยการหดและขยายถุงเม็ดสีเพื่อทำให้มองเห็นสีได้มากขึ้นหรือน้อยลง แต่ปัญหาของโครมาโตฟอร์คือไม่สามารถทำงานเดี่ยวๆ ได้ เพราะเม็ดสีสร้างมีเพียงสีดำ น้ำตาล ส้ม แดง หรือเหลืองเท่านั้น นักวิจัยจึงมุ่งไปที่…
นักวิจัยจากมหาวิทยาลัยเกนต์ ระบุว่าป่าฝนเขตสงวนชีวมณฑลของยูเนสโกในสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโกจะกลายเป็นแหล่งกักเก็บคาร์บอนอันดับหนึ่งที่สำคัญสุดในโลก แทนที่ป่าแอมะซอนในอเมริกาใต้
สภาลมหายใจภาคเหนือจัดเสวนาเพื่อหาแนวทางแก้ปัญหาฝุ่นควันในพื้นที่ภาคเหนือ ภายใต้หัวข้อ “ฝุ่นข้ามแดนมีสัดส่วนกี่% ของฝุ่นทั้งหมด” โดยมี ผศ.ดร. ชาคริต โชติอมรศักดิ์