IGreen Editor

‘อ่างเก็บน้ำ’ ทั่วโลกแห้งลง เหตุโลกร้อนและการเพิ่มขึ้นของประชากร

‘อ่างเก็บน้ำ’ ทั่วโลกเริ่มว่างเปล่ามากขึ้นในช่วงสองทศวรรษที่ผ่านมา แม้ว่าความจุโดยรวมจะเพิ่มขึ้นจากการสร้างอ่างเก็บน้ำใหม่ก็ตาม

Read more

เปิดลงนาม ‘สนธิสัญญาทะเลหลวง’ มติแรกของโลกที่ปกป้องน่านน้ำสากล

‘สนธิสัญญาทะเลหลวง’ ครั้งแรกของโลกที่สหประชาชาติรับรองมติเพื่อปกป้องทะเลหลวงและอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพทางทะเลในน่านน้ำสากล

Read more

พบ ‘หินรูปองคชาต’ อุปกรณ์ลับคมอาวุธในการปฏิวัติครั้งรุนแรงในยุโรป

นักโบราณคดีพบหินแกะสลักเป็นรุปองคชาตขนาด 6 นิ้ว ในสเปน จากการวิเคราะห์ ตีความได้ว่าคือ ‘หินลับคมอาวุธ’ ในการปฏิวัติอิร์มานดิโญ

Read more

รถรางสวนเคลื่อนที่ พื้นที่สีเขียวไม่จำกัดโลเคชั่นของเบลเยี่ยม

รถรางสวนเคลื่อนที่ ไอเดียของสภาท้องถิ่นเมืองแอนต์เวิร์ป ประเทศเบลเยี่ยม ที่ต้องการเพิ่มพื้นที่สีเขียวให้กับเมือง ส่งเสริมสุขภาพ และกระตุ้นให้ประชากรมีส่วนร่วมในการทำสวนเพื่อเปลี่ยนเมืองแห่งนี้ให้กลายเป็นสถานที่ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

Read more

ฝูงปลาตายเกลื่อนหาดเท็กซัส เหตุทะเลร้อนออกซิเจนไม่เพียงพอ

ฝูงปลาจำนวนมากเกยตื้นบนชายหาดหลายแห่งของรัฐเท็กซัส สหรัฐอเมริกา หลังอุณหภูมิในมหาสมุทรสูงขึ้นส่งผลให้ออกซิเจนในน้ำลดน้อยลง

Read more

ญี่ปุ่นเปิดแบบเมืองลอยน้ำ เพื่อรองรับน้ำทะเลหนุนและอากาศสุดขั้ว

N-Ark บริษัทออกแบบและให้คำปรึกษาอสังหริมทรัพย์ของญี่ปุ่นเปิดแบบเมืองลอยน้ำเพื่อรองรับการเพิ่มขึ้นของน้ำทะเลที่เกิดจากเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ

Read more

เขื่อนยูเครนแตกหายนะกว่าเชียร์โนบีล กระทบฃความมั่นคงอาหารโลก

สองวันหลังจากการพังทลายของเขื่อนโนวาคาเคฟกา(Nova Kakhovka) ของยูเครน ส่งผลให้เกิดน้ำท่วมเป็นวงกว้าง ไม่เพียงแค่การอพยพของประชาชน ความเสี่ยงต่อทุ่นระเบิดระหว่างเคลื่อนย้าย แต่ยังรวมไปถึงภาคการเกษตรของยูเครนแหล่งธัญพืชที่สำคัญของโลก และระบบนิเวศในทะเลดำซึ่งเป็นแหล่งรับน้ำท่วม เขื่อนโนวาคาเคฟกาเป็นเขื่อนขนาดใหญ่สูง 30 เมตร ยาว 3.2 กิโลเมตร สร้างขึ้นในยุคโซเวียต อยู่ทางตอนใต้ของยูเครน แต่เป็นพื้นที่ควบคุมของรัสเซียได้รับความเสียหายเมื่อวันอังคาร ส่งผลให้เกิดน้ำท่วมเป็นวงกว้าง การทำลายเขื่อน โนวาคาเคฟกายังไม่ได้รับการยืนยันว่าเป็นฝีมือของรัสเซีย แม้แต่ โวโลดีมีร์…

Read more

ชาวประมงพบกุ้งล็อบสเตอร์สีส้มหายาก 1 ใน 30 ล้านตัว

ศูนย์วิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยนิวอิงแลนด์ ได้รับมอบกุ้งล็อบสเตอร์สีส้มจากชาวประมง เพื่อนำมาศึกษาต่อ โดยนักวิจัยระบุว่านี่คือล็อบสเตอร์หายากที่พบได้เพียง 1 ใน 30 ล้านตัวเท่านั้น โดยทั่วไปแล้วกุ้งล็อบสเตอร์จะมีสีหม่นเมื่อยังมีชีวิตอยู่ และจะเปลี่ยนเป็นมีสีแดงหลังจากถูกทำให้สุกแล้วเท่านั้น เหตุที่สีของกุ้งล็อบสเตอร์ตัวนี้ต่างจากตัวอื่นอาจเกิดจากพันธุกรรม แต่ศูนย์ฯ ยังไม่ตัดประเด็นแวดล้อมออก ถ้าสีของมันเกิดจากพันธุกรรม หลังลอกคราบมันจะยังมีสีส้มสม่ำเสมอ แต่ถ้าเกิดจากสภาพแวดล้อม มีความเป็นได้ที่สีของมันจะเปลี่ยนไปหลังย้ายไปอยู่ในสภาพแวดล้อมใหม่ ชารล์ส ธิลเบอร์ก ผู้อำนวยการศูนย์วิทยาศาสตร์ทางทะเลระบุว่ากามที่หายข้างหนึ่งอาจหลุดระหว่างเกิดการต่อสู้กับกุ้งหรือปลาตัวอื่น อย่างไรก็ตามทางศูนย์มีแผนที่จะทำการศึกษาแบบเรียลไทม์…

Read more

นิวซีแลนด์แอร์ขอความร่วมมือ ผู้โดยสารชั่งน้ำหนักช่วยกัปตันคำนวนน้ำมัน

สายการบินนิวซีแลนด์ให้ผู้โดยสารเที่ยวบินระหว่างประเทศชั่งน้ำหนักก่อนขึ้นเครื่อง เพื่อนำข้อมูลปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้เชื้อเพลิงในอนาคต

Read more

การศึกษาเตือนไขมันสัตว์เพื่อเชื้อเพลิงการบิน อาจไม่ใช่ทางเลือกที่ยั่งยืน

ผลการศึกษาใหม่เตือนการนำไขมันหมู วัว และไก่มาใช้เพื่อผลิตเชื้อเพลิงสำหรับการบินอาจจะไม่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอย่างที่คิด ในทางตรงกันข้ามกลับส่งผลร้ายต่อโลกแทน

Read more