‘อาหารแห่งอนาคต’ คืออะไร ของแท้หรือแค่เทรนด์

แมลง สาหร่าย เนื้อจากพืช เนื้อจากห้องแล็บ วัตถุดิบเหล่านี้มีแนวโน้มจะกลายเป็นส่วนหนึ่งของเมนูสามัญที่พบได้ทั่วไปในจานอาหารในอนาคต เมื่อวิธีผลิตและการบริโภคอาหารถึงเวลาต้องเปลี่ยน ด้วยจำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้นต่อเนื่อง ภาวะทุพโภชนาการ การเข้าถึงอาหาร การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ฯลฯ ทั้งหมดเป็นปัจจัยทำให้แต่ละฝ่ายจะต้องรีบเร่งปรับตัว ซึ่งหนึ่งในทางออกสำคัญก็คือ นวัตกรรมอาหารแห่งอนาคตหรือ Future Food

Read more

เพียง ‘กบตัวเมีย’ กระพริบตา กบตัวผู้ก็รู้ว่าถึงเวลาผสมพันธุ์

คณะนักวิทยาศาสตร์ของจีนพบว่าพฤติกรรม ‘การกะพริบตา’ ซึ่งมีสมมติฐานว่าเป็นการส่งสัญญาณประเภทหนึ่งที่มักพบได้ในสัตว์กลุ่มไพรเมต (primate) เช่นมนุษย์และลิง ยังสามารถพบได้ในกบตัวเมียซึ่งเป็นสัตว์นอกตระกูลไพรเมต

Read more

‘เชียงใหม่’ รั้งอันดับ 1 สองวันติด อากาศแย่ที่สุดในโลก

สถานการณ์ไฟป่าและฝุ่น PM2.5 ในหลายจังหวัดภาคเหนือตอนบนรุนแรงจนทำให้ประชาชนตกอยู่ภาวะอันตราย โดยเฉพาะเชียงใหม่ เมื่อวันที่ 16 มีนาคม 2567 เว็บไซต์ iqair.com รายงานคุณภาพอากาศและจัดอันดับเมืองที่มีมลพิษทั่วโลกว่า จ.เชียงใหม่ เป็นเมืองติดอันดับที่ 1 ของโลก ค่าฝุ่นแตะระดับ 240 AQI US ซึ่งคุณภาพอากาศแย่มากที่สุดและมีผลกระทบอย่างรุนแรง เชียงใหม่จึงกลายเป็นเมืองที่ติดอันดับ 1…

Read more

คลื่นความร้อนมันร้าย!

ในแต่ละปีคลื่นความร้อนคร่าชีวิตคนจำนวนมากแต่มักถูกมองข้าม จึงเป็นภัยเงียบใกล้ตัวที่ต้องกระตุ้นเตือนให้ประชาชนตระหนักพร้อมรับมืออย่างเท่าทัน

Read more

อุตุฯ เตือนคนไทยเฝ้าระวัง 6-7 มีนาร้อนถึงร้อนจัด

กรมอุตุนิยมวิทยาพยากรณ์อากาศ ในช่วงวันที่ 6 – 7 มี.ค. 67 ความกดอากาศต่ำเนื่องจากความร้อนปกคลุมประเทศไทยตอนบน ลักษณะเช่นนี้ทำให้บริเวณดังกล่าวมีอากาศร้อนถึงร้อนจัดกับมีฟ้าหลัวในตอนกลางวัน

Read more

นักวิทย์ย้ำไม่ใช่เรื่องแปลก เหตุพบวาฬหลังค่อมเพศผู้มีเซ็กซ์ด้วยกัน

ช่างภาพได้จับภาพวาฬหลังค่อมเพศผู้ 2 ตัวกำลังมีเพศสัมพันธ์กัน ผู้เชี่ยวชาญกล่าวว่านี่เป็นครั้งแรกที่วาฬหลังค่อมถูกบันทึกว่ามีกิจกรรมทางเพศ

Read more

เต็นท์ทำความเย็นเคลื่อนที่ สถานที่ดับร้อนของชาวซิดนีย์

ในขณะที่ออสเตรเลียกำลังเผชิญฤดูร้อนที่อุณภูมิสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ‘เต็นท์ทำความเย็นเคลื่อนที่’ ของออสเตรเลียดูจะเป็นทางออกเดียวและทางออกสุดท้ายของคนไร้บ้าน

Read more

สภาวะโลกเดือด เบื้องหลังภัยพิบัติ ‘สุดขั้ว’ ปี 66

สังเกตกันไหมว่าตลอดช่วงปี 2566 เรามักเห็นข่าวภัยพิบัติเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องทั่วโลก นับตั้งแต่คลื่นความร้อนรุนแรง ภัยแล้งหนักสุดในประวัติศาสตร์ ไฟป่าลามเผาทั้งเมืองวอดวาย หรือแม้กระทั่งพายุฝนถล่มเมืองกลางทะเลทรายจนเมืองจมน้ำ จนนับได้ว่าปี 2566 ถือเป็นปีที่โลกต้องเผชิญกับภัยพิบัติร้ายแรงเป็นประวัติการณ์ (1) ก้าวเข้าสู่ปีใหม่ 2567 จึงเป็นโอกาสอันดีที่เราจะได้มาทบทวนถึงสถานการณ์ภัยพิบัติที่ได้สร้างความเสียหายมหาศาลต่อทั้งชีวิตและทรัพย์สินของผู้คนทั่วโลกตลอดปีที่ผ่านมา เพื่อที่จะทำความเข้าใจความร้ายแรงของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่เราทุกคนกำลังเผชิญ ปีแห่งความแห้งแล้ง ไฟป่า และคลื่นความร้อน เมื่อเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา เลขาธิการองค์การสหประชาชาติ อันโตนิโอ กุเตอเรส…

Read more