มอบสมุดประจำตัวคน 3 อำเภอ นครศรีฯ ทำกินในป่าสงวน 37,334 ไร่
กระทรวงทรัพย์ฯ มอบสมุดประจำตัวทำกินในป่าสงวน ลุ่มน้ำชั้นที่ 1 และ 2 ใน อ.ทุ่งสง ทุ่งใหญ่ และบางขัน จ.นครศรีธรรมราช 1,972 ราย รวม 37,334 ไร่
กระทรวงทรัพย์ฯ มอบสมุดประจำตัวทำกินในป่าสงวน ลุ่มน้ำชั้นที่ 1 และ 2 ใน อ.ทุ่งสง ทุ่งใหญ่ และบางขัน จ.นครศรีธรรมราช 1,972 ราย รวม 37,334 ไร่
“เอสโตเนีย” อันดับหนึ่งประเทศเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ประจำปี 2024 เวียดนามติดอันดับท้ายสุด เนื่องจากพึ่งพาพลังงานถ่านหินมากขึ้น ไทยรั้งที่ 90
ข่าวดีสุดๆ สำหรับวงการนักอนุรักษ์อเมริกาใต้ เมื่อป่าฝนผืนที่ใหญ่ที่สุดของโลกอย่าง “แอมะซอน” ในโคลอมเบียลดการบุกรุกลงได้ถึง 36% ภายในปีเดียว
ประธานมูลนิธิสืบฯ เสนอแนวทางให้อุทยานยึดพื้นที่ สปก. 6 หมื่นไร่ กลับมาอยู่ในอุทยาน ตั้งคำถามทำไมต้องกันพื้นที่ 1.25 แสนไร่ เอื้อ “นายทุน”
คอลัมน์ ‘เด็กหลังห้อง’ ขออธิบายความหมายของคำว่า “เขียวตกขอบ” ที่มีอาจารย์ มช. ออกมาเปิดประเด็น และเจตนาการอนรักษ์ป่าของมูลนิธิสืบนาคะเสถียร
เสียงคัดค้านกรมอุทยานฯ เตรียมยกพื้นที่ 265,286 ไร่ ให้ สปก. ดังระงม หลังจัดรับฟังความเห็น ระหว่าง 28 มิ.ย. – 12 ก.ค. 2567 จนเกิด #Saveทับลาน กรมอุทยานฯ เตรียมยกพื้นที่ 265,286.58 ไร่ ให้…
Nature-based Solution กระบวนการเลียนแบบธรรมชาติ กำลังถูกนำมาใช้รับมือวิกฤตโลก ไม่ว่าการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ความหลากหลายทางชีวภาพ และอื่นๆ โลกของเรากำลังเผชิญกับความท้าทายด้านสิ่งแวดล้อมมากมาย ทั้งความเสื่อมโทรมของระบบนิเวศ การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ ปัญหามลพิษ และการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ทั้งหมดเป็นวิกฤตที่เชื่อมโยงกันแบบไร้พรมแดนและส่งผลกระทบลึกซึ้งต่อทุกชีวิตบนโลก ต้นตอของวิกฤตสิ่งแวดล้อมทั้งหมดมาจากรากปัญหาเดียวนั่นคือ การใช้ทรัพยากรแบบล้างผลาญและการทำลายธรรมชาติ ในอดีตเราแก้ปัญหาด้วยการใช้ทรัพยากรเพิ่ม ยิ่งปัญหาสิ่งแวดล้อมรุนแรง เราก็ยิ่งสร้างโครงสร้างต่างๆ มากมายเพื่อกีดกันธรรมชาติออกจากการใช้ชีวิต เช่น เราทำลายแนวกันคลื่นตามธรรมชาติอย่างป่าโกงกาง แทนที่ด้วยเขื่อนคอนกรีตขนาดมหึมาที่ทำลายระบบนิเวศน้ำตื้นไปจนหมด…
ศาลเอกวาดอร์ตัดสินว่า การปล่อยมลพิษลงสู่แม่น้ำ Machángara ช่วงที่ไหลผ่านเมืองหลวงถือเป็นการ “ละเมิดสิทธิของแม่น้ำ” ศาลเอกวาดอร์ตัดสินว่า การปล่อยมลพิษลงสู่แม่น้ำถือเป็นการละเมิดสิทธิของแม่น้ำ คำพิพากษาดังกล่าวกลายเป็น “คดีประวัติศาสตร์” หลังนักเคลื่อนไหวยื่นฟ้องศาลว่า การปล่อยน้ำเสียลงสู่แม่น้ำ Machángara ที่ไหลผ่านเมืองกีโต เป็นการสร้างมลพิษที่กระทบต่อสิ่งแวดล้อมของเมืองและเป็นการละเมิดสิทธิแม่น้ำตามที่รัฐธรรมนูญกำหนดไว้ คดีนี้นักเคลื่อนไหวได้ยื่นฟ้องศาลเพื่อปกป้องแม่น้ำ Machángara ที่ไหลผ่านเมืองกีโต เมืองหลวงของประเทศ ซึ่งต่อมารัฐบาลเมืองได้อุทธรณ์คำตัดสินดังกล่าว แต่ศาลระบุว่าในระหว่างอุทธรณ์ให้รัฐบาลต้องจัดทำแผนเพื่อทำให้ Machángara สะอาดและไม่ปนเปื้อนมลพิษ…