OPINION: แม่น้ำโขงไม่ใช่สมบัติส่วนตัวของจีน

เรารู้มานานแล้วว่าแม่น้ำโขงถูกจีนสร้างเขื่อนและเตรียมสร้างกั้นไว้ถึง 11 แห่งและหลังจากนั้นระดับแม่น้ำโขงไม่ขึ้นลงตามธรรมชาติอีก ในฤดูแล้งกลับมีน้ำเจิ่งนอง ในฤดูฝนกลับแห้งอดถจนแทบจะเห็นพื้น ความผิดปกตินี้ทำลายระบบนิเวศของธรรมชาติและทำลายวิถีชีวิตของคนริมสองฝั่งโขง

Read more

เขื่อนจีนกักระบายน้ำโขง
ปล่อยอาเซียนด้านล่างเผชิญแล้ง

จีนกักน้ำโขงตอนบนไว้ผลิตกระแสไฟฟ้าสำหรับใช้ตลอดทั้งปี และเลือกปล่อยน้ำจากเขื่อนตามอารมณ์ ทำให้ประเทศอาเซียนด้านล่างเผชิญภาวะแล้งจัด งานวิจัยล่าสุดจากกลุ่มนักอุตุนิยมวิทยาชาวอเมริกันยืนยันหลักฐานอย่างเป็นวิทยาศาสตร์เป็นครั้งแรกว่าจีนควบคุมระดับน้ำของแม่น้ำโขงให้ระดับต่ำที่สุดเป็นประวัติการณ์ เป็นที่ทราบกันดีว่ารัฐวิสาหกิจของจีนได้สร้างเขื่อนหลายแห่งเพื่อกั้นแม่น้ำโขง ทีมวิจัยจึงเทียบระดับน้ำกับภาพถ่ายดาวเทียม รวมถึงระยะเวลาปฏิบัติการของเขื่อนเหนือแม่น้ำโขง ซึ่งตามปกติแล้วถ้าจีนแล้ง ประเทศใต้น้ำก็ต้องแล้ง ถ้าจีนมีน้ำมากประเทศใต้น้ำก็จะมีน้ำมาก แต่หลังจากจีนสร้างเขื่อนเรื่องแบบนี้ก็เริ่มไม่ปกติ ทีมวิจัยพบว่ามีความเชื่อมโยงระหว่างระดับน้ำที่ลดลงที่วัดได้ที่เชียงแสนและสภาพของแม่น้ำโขงจากภาพถ่ายดาวเทียมในช่วงปีแรกๆ ที่จีนเริ่มสร้างเขื่อน สถานการณ์ชัดเจนอย่างมากช่วงที่จีนเริ่มเติมน้ำโขงเข้าสู่อ่างเก็บน้ำ Manwan และ Dachaoshan ระดับน้ำที่วัดได้และการไหลตามธรรมชาติของแม่น้ำโขงลดลงหลังอย่างชัดเจน หลังจากปี 2555 เมื่อมีการสร้างเขื่อนใหญ่และอ่างเก็บน้ำสองแห่งซึ่งจำกัดปริมาณและเวลาของน้ำที่ปล่อยออกมาอย่างมาก รัฐบาลจีนตั้งใจใช้เขื่อนเหล่านี้เพื่อควบคุมการไหลของกระแสน้ำ…

Read more

ปกาเกอะญอกับบทบาทดับไฟป่า
ข้อสงสัยใครเป็นคนจุดไฟกันแน่?

กลุ่มชาติพันธุ์ตกเป็นเป้าเพ่งเล็งจากสายตารัฐว่าคือมนุษย์ที่ “ลงมือเผาป่า” จนเป็นสาเหตุให้เกิดไฟป่าครั้งรุนแรงที่สุดครั้งหนึ่งในภาคเหนือ โดยเฉพาะในพื้นที่ จ.เชียงใหม่ นำไปสู่การออกคำสั่งปิดป่า 100% ปิดแหล่งท่องเที่ยวในอุทยานแห่งชาติ แต่ดูเหมือนว่าสถานการณ์ไฟก็ยังเกิดขึ้นอยู่ในอีกหลายพื้นที่

Read more

OPINION: ข้อเสนอดับไฟป่าภาคเหนือ
‘สร้าง’ การจัดการเชิงระบบ

โดย – มานพ คีรีภูวดล, ธนากร อัฏฐ์ประดิษฐ์ ตอนที่ 3 ว่าด้วยเรื่องของการ “สร้าง” 1. สร้างมาตรการ “ชิงใช้ไฟ” ก่อนที่ไฟไม่พึงประสงค์จะชิงก่อความเสียหาย ที่สอดคล้องตามเงื่อนไขของแต่ละนิเวศป่า ช่วงเวลาที่เหมาะสมและลักษณะชุมชนท้องถิ่นด้วยหลักสหวิชาการ อาทิ มโนทัศน์ Prescribed Natural Fire Policy…

Read more

OPINION: ข้อเสนอดับไฟป่าภาคเหนือ
‘เลิก’ เติมเชื้อไฟความขัดแย้ง

โดย – มานพ คีรีภูวดล, ธนากร อัฏฐ์ประดิษฐ์ ตอนที่ 2 ว่าด้วยเรื่องของการ “เลิก” 1. เลิกใช้นโยบายที่มุ่งกำจัดไฟโดยไม่แยกแยะ (Fire Exclusion Policy) ด้วยอุดมคติที่ฝืนสภาพความจริง โดยไม่พิจารณาถึงเงื่อนไขสำคัญอื่นตามบริบทที่แตกต่าง โดยเฉพาะลักษณะทางนิเวศที่แตกต่างกันแม้กระทั่งในพื้นที่หนึ่งชุมชนท้องถิ่น ลักษณะทางสังคมวัฒนธรรม ส่งผลให้มาตรการที่ผ่านมาล้มเหลวและสร้างภาวะสะสมเชิงผลกระทบสืบเนื่องมา

Read more

OPINION: ข้อเสนอดับไฟป่าภาคเหนือ
‘รื้อ’ การมองปัญหาแบบแยกส่วน

โดย – มานพ คีรีภูวดล, ธนากร อัฏฐ์ประดิษฐ์ ตอนที่ 1 ว่าด้วยเรื่องของการ “รื้อ” 1. รื้อความเข้าใจต่อประเด็น “ไฟป่า” ส่วนหนึ่งมาจากที่ตัวมันเองถูกมองเป็นหนึ่งในสาเหตุสำคัญของปัญหามลพิษทางอากาศจนถูกเหมาเรียกแทบจะเป็นเนื้อเดียวกันกับปัญหามลพิษทางอากาศช่วงฤดูแล้งของภาคเหนืออย่างปัญหา “ไฟป่าหมอกควัน” ที่ส่งผลกระทบโดยตรงกับสิ่งแวดล้อม กิจกรรมทางเศรษฐกิจและสุขภาพของผู้คนอย่างสาหัส โดยเฉพาะภาคเหนือที่เต็มไปด้วยพื้นที่ป่าลักษณะต่างๆ กว่า 64% ของภูมิภาค ย่อมเป็นเงื่อนไขใหญ่ที่สัมพันธ์กับสถานการณ์ดังกล่าวอย่างเลี่ยงไม่ได้

Read more

โคโรนาไวรัสสายพันธุ์ใหม่
คือ “นักฆ่า” ไม่ใช่ “ฮีโร่”

การระบาดของโควิด-19 ทำให้กิจกรรมของมนุษย์หยุดนิ่ง การปล่อยมลพิษลดลง ท้องฟ้าสะอาดขึ้น ถนนไม่มีควัน สิงสาราสัตว์ออกมาเพ่นพ่านในเมือง เหมือนกำลังทวงคืนบ้านของพวกมันคืนจากมนุษย์

Read more

ซ่อม ‘โพรงรัง’ หวังเพิ่มประชากร
นกเงือกป่าฮาลา–บาลา

โดย – สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ในเดือนมีนาคมถึงเมษายนของทุกปีถือเป็นช่วงเวลาที่นกเงือกเข้าสู่ฤดูผสมพันธุ์ โดยนกเงือกเริ่มจับคู่และเสาะหาโพรงรังที่เหมาะสมเพื่อให้ตัวเมียออกไข่-ฟักไข่ ทว่าแม้ในป่าฮาลา–บาลา อ.แว้ง จ.นราธิวาส ที่ขึ้นชื่อว่าเป็นผืนป่าที่อุดมสมบูรณ์อย่างมาก สัตว์โบราณอย่างนกเงือกยังต้องเผชิญภาวะ ‘การขาดแคลนโพรงรัง’ หนึ่งในปัจจัยสำคัญที่ทำให้จำนวนประชากรนกเงือกลดลง

Read more